วันศุกร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2566

การสร้าง Gerber file ด้วยโปรแกรม Altium เพื่อส่งผลิต PCB

 



วิธีการสร้างสามารถเรียนรู้ได้จากลิงค์ครับ
การนำไฟล์ Gerber จาก Altium เพื่อส่งผลิต ลิงค์
วิธีการสร้างไฟล์ Gerber โดยใช้ Altium Designer    ลิงค์
วีดิโอแนะนำการสร้างไฟล์ Gerber

สื่อเพื่อการศึกษาเรื่องการออกแบบ PCB สำหรับบอร์ดเรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์





วันอาทิตย์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2566

การประกอบอินเวอร์เตอร์เพื่อการศึกษาการทำงานของอินเวอร์เตอร์ อย่างง่ายพร้อมอุปกรณ์



 


ไดอะแกรมอินเวอร์เตอร์ 1 เฟส 

ประกอบด้วย
1. สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง IGBT/MOSFET 

2. ไมโครคอนโทรลเลอร์

3. วงจรขับเกต 

การใช้งานร่วมกับ IGBT/MOSFET


การประกอบวงจร

และเขียนโปรแกรมลงไมโครคอนโทรลเลอร์ ตามวีดิโอ














วันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2565

วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2565

การโปรแกรม C2000

LAUNCHXL-F28027 C2000 Piccolo MCU F28027 LaunchPad™ development kit 


ภาพที่ 1 บอร์ด LAUNCHXL-F28027 C2000 Piccolo MCU F28027


ภาพที่ 2 การใช้งานรวมกับบอร์ด Shield 

ตัวอย่างโปรแกรมด้วย MATLAB

ภาพที่ 3 บล็อกสร้างสัญญาณ PWM 

สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้ ที่นี่ พิเศษสำหรับท่านที่ใช้งานบอร์ด Shield เท่านั้น







วันเสาร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2565

บอร์ดเรียนรู้ไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล dsPIC30F2010

 


ภาพที่ 1 การต่อใช้งาน

วงจรประกอบด้วย 
1. บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ dsPIC30F2010
2. วงจรรักษาระดับแรงดัน (Volage regulator)
3. เพาเวอร์ซัพพลาย (Switching power supply)


ภาพที่ 2 การต่อร่วมกับชุดโปรแกรม PicKit3


ภาพที่ 3 การต่อใช้งานและตำแหน่งของ Pickit3 กับบอร์ด dsPIC30F2010

วงจรของบอร์ด dsPIC30F2010 สามารถดาวน์โหลดได้จาก ที่นี่

ตำแหน่งพอร์ต E ดังภาพที่ 4

ภาพที่ 4 ตำแหน่งของพอร์ต E

พอร์ต E ถูกออกแบบให้สามารถใช้งานขาสัญญาณพัลวิธมอดูเลชั่น (Pulse width modulation: PWM) ตามตำแหน่งขาใน Datasheet ของ dsPIC30F2010
ภาพที่ 5 ตำแหน่งขาสัญญาณ PWM ตาม Datasheet ของ dsPIC30F2010

ตัวอย่างโปรแกรม

สร้างสัญญาณ PWM ปรับค่าด้วยความต้านทานปรับค่าได้

ภาพที่ 6 ส่วนประกอบชุดทดลอง


วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2565

Timeline การพัฒนาระบบขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้าสมัยใหม่สำหรับยานพาหนะไฟฟ้า


ภาพที่ 1 Timeline การพัฒนาระบบขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้ายานพาหนะไฟฟ้าในประเทศไทย


ส่วนประกอบ

1. 3-phase inverter ขนาดพิกัด 600 Volt, 300 A.


ภาพที่ 2 อินเวอร์เตอร์ 3 เฟส

2. วงจรขับเกต

ภาพที่ 3 วงจรขับเกต





หวังว่าจะเป็นส่วนนึงในการส่งเสริมการพัฒนาระบบขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้าสมัยใหม่ในยานพาหนะไฟฟ้า



 

วันจันทร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2565

ออฟกริดอินเวอร์เตอร์สำหรับการเรียนรู้การออกแบบและสร้างอินเวอร์เตอร์สำหรับใช้งานกับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์อาทิตย์

 

ภาพที่ 1 Time line การพัฒนาระบบอินเวอร์เตอร์

เริ่มจากการคิดโปรเจคว่าต้องการพัฒนาอินเวอร์เตอร์ 1 เฟส สำหรับใช้งานกับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ เงื่อนไขคือมีแรงดันขาเข้า (Vbus) 400 โวลต์ ตามภาพ


ภาพที่ 2 วงจรไดอะแกรมอินเวอร์เตอร์ 1 เฟส ด้วยวงจร Full-bridge inverter

ทำการเปลี่ยนแรงดัน (Vbus) เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์  ดังนั้นต้องใช้วงจร Full-bridge อิน-เวอร์เตอร์ประกอบด้วย IGBT จำนวน 4 ตัว ดังภาพที่ 2 และสร้างสัญญาณด้วยไมโคร-คอนโทรลเลอร์ C2000 สัญญาณ Sine PWM ดังภาพที่ 2 

อุปกรณ์ที่ใช้
1. วงจรขับเกต สำหรับจุดฉนวนการทำงานของ IGBT วงจรที่ใช้สามารถใช้งานกับความถี่ 64 kHz และยังสามารถใช้งานกับ SiC และ GaN ได้ด้วย
ภาพที่ 3 การต่อใช้งานวงจรขับเกต


2. IGBT ทำเป็น Full bridge ตัวที่เลือกใช้สามารถใช้กับวงจรขับเกตได้อย่างดีและทำงานที่ความถี่ 32kHz ได้

ภาพที่ 4 การต่อใช้งาน วงจรขับเกตกับ IGBT



และส่วนประกอบเพื่อเป็นอินเวอร์เตอร์ตามภาพที่ 


ภาพที่ 5 อินเวอร์เตอร์ที่ประกอบแล้ว


ภาพที่ 6 บอร์ดประกอบวงจรขับเกตทั้งอินเวอร์เตอร์ 3 เฟสและ 1 เฟส


ภาพที่ 7 บอร์ดประกอบคาปาซิเตอร์และ LC Filter

หวังว่าจะทำให้การประกอบอินเวอร์เตอร์เป็นเรื่องง่ายขึ้นครับ